แม่บท วิญญาณ บางครั้ง ก็ถูกเรียกในรูปขันธ์
===================================
ยญฺจ โข เอตํ ภิกฺขเว วุจฺจติ จิตฺตํ อิติปิ มโน อิติปิ วิญฺญาณํ อิติปิ ตตฺราสฺสุตวา ปุถุชฺชโน นาลํ นิพฺพินฺทิตุํ นาลํ วิรชฺชิตุํ นาลํ วิมุจฺจิตุํ ตํ กิสฺส เหตุ ทีฆรตฺตํ
แต่ว่าตถาคตเรียกร่างกายอันเป็นที่ประชุมแห่งมหาภูตทั้ง ๔ นี้ว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง จิตเป็นต้นนั้นดวงหนึ่งเกิดขึ้น ดวงหนึ่งดับไป ในกลางคืนและกลางวัน
=========================================
กายภายนอกสุด ก็คือ กายเนื้อ
กำยที่อยู่ในกายเนื้อ ก็คือ วิญญาณ กายหยาบ กายละเอียด กายทิพย์ กายอริยะ ทั้งหมดนี้ ก็คือ วิญญาณกาย หรือ วิญญาณธาตุ
๑๙๑. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ หน้าที่ ๓๒๙
นี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ #วิญญาณธาตุ
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ข้อที่ ๖๘๐ - ๖๘๔
๑. พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๔ หน้าที่ ๓๐๑
ล่าวแล้ว ได้แก่จักษุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหา #วิญญาณกาย
สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ข้อที่ ๖๑๗ - ๖๒๑