แม่บท สุข ทั้งหมดในพุทธศาสนา รวมลงมีเท่านี้
===============================
[๓๐๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
ของคฤหัสถ์ ๑ สุขเกิดแต่บรรพชา ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขเกิดแต่บรรพชาเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ
กามสุข ๑ เนกขัมมสุข ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ เนกขัมมสุขเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
เจือกิเลส ๑ สุขไม่เจือกิเลส ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขไม่เจือกิเลสเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
มีอาสวะ ๑ สุขไม่มีอาสวะ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขไม่มีอาสวะเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
อิงอามิส ๑ สุขไม่อิงอามิส ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขไม่อิงอามิสเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
ของพระอริยเจ้า ๑ สุขของปุถุชน ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล
ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขของพระอริยเจ้าเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ
กายิกสุข ๑ เจตสิกสุข ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุ
ทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ เจตสิกสุขเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
อันเกิดแต่ฌานที่ยังมีปีติ ๑ สุขอันเกิดแต่ฌานที่ไม่มีปีติ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขอันเกิดแต่ฌาน
ไม่มีปีติเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
เกิดแต่ความยินดี ๑ สุขเกิดแต่ความวางเฉย ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒
อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขเกิดจากการวางเฉย
เป็นเลิศ ฯ
[๓๑๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
ที่ถึงสมาธิ ๑ สุขที่ไม่ถึงสมาธิ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกร
ภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขที่ถึงสมาธิเป็นเลิศ ฯ
[๓๑๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
เกิดแต่ฌานมีปีติเป็นอารมณ์ ๑ สุขเกิดแต่ฌานไม่มีปีติเป็นอารมณ์ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขเกิดแต่ฌานไม่มีปีติเป็นอารมณ์เป็นเลิศ ฯ
[๓๒๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
ที่มีความยินดีเป็นอารมณ์ ๑ สุขที่มีความวางเฉยเป็นอารมณ์ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลายสุข ๒ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขที่มีความวางเฉยเป็นอารมณ์เป็นเลิศ ฯ
[๓๒๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒ อย่างนี้ ๒ อย่างเป็นไฉน คือ สุข
ที่มีรูปเป็นอารมณ์ ๑ สุขที่ไม่มีรูปเป็นอารมณ์ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สุข ๒
อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย บรรดาสุข ๒ อย่างนี้ สุขที่ไม่มีรูปเป็นอารมณ์
เป็นเลิศ ฯ
-----------------------------------------------------------------------
[๓๐๙] ๖๓ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว คิหิสุขญฺจ
ปพฺพชฺชาสุขญฺจ ๑- อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว
อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ ปพฺพชฺชาสุขนฺติ ๒- ฯ
[๓๑๐] ๖๔ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว กามสุขญฺจ
เนกฺขมฺมสุขญฺจ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว
@เชิงอรรถ: ๑-๒ ม. ปพฺพชิตสุขญฺจ ฯ
อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ เนกฺขมฺมสุขนฺติ ฯ
[๓๑๑] ๖๕ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว อุปธิสุขญฺจ
นิรุปธิสุขญฺจ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว
อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ นิรุปธิสุขนฺติ ฯ
[๓๑๒] ๖๖ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว สาสวญฺจ
สุขํ อนาสวญฺจ สุขํ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ
ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ อนาสวสุขนฺติ ๑- ฯ
[๓๑๓] ๖๗ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว สามิสญฺจ
สุขํ นิรามิสญฺจ สุขํ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ
ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ นิรามิสํ สุขนฺติ ฯ
[๓๑๔] ๖๘ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว อริยสุขญฺจ
อนริยสุขญฺจ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว
อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ อริยสุขนฺติ ฯ
[๓๑๕] ๖๙ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว กายิกญฺจ
สุขํ เจตสิกญฺจ สุขํ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ
ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ เจตสิกํ สุขนฺติ ฯ
[๓๑๖] ๗๐ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว สปฺปีติกญฺจ
สุขํ นิปฺปีติกญฺจ สุขํ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ
ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ นิปฺปีติกํ สุขนฺติ ฯ
[๓๑๗] ๗๑ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว สาตสุขญฺจ
@เชิงอรรถ: ๑ อนาสวํ สุขนฺติ ปเทน ภวิตพฺพํ ฯ
อุเปกฺขาสุขญฺจ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว
อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ อุเปกฺขาสุขนฺติ ฯ
[๓๑๘] ๗๒ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว สมาธิสุขญฺจ
อสมาธิสุขญฺจ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว
อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ สมาธิสุขนฺติ ฯ
[๓๑๙] ๗๓ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว
สปฺปีติการมฺมณญฺจ สุขํ นิปฺปีติการมฺมณญฺจ สุขํ อิมานิ โข
ภิกฺขเว เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ
นิปฺปีติการมฺมณํ สุขนฺติ ฯ
[๓๒๐] ๗๔ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว
สาตารมฺมณญฺจ สุขํ อุเปกฺขารมฺมณญฺจ สุขํ อิมานิ โข ภิกฺขเว
เทฺว สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ
อุเปกฺขารมฺมณํ สุขนฺติ ฯ
[๓๒๑] ๗๕ เทฺวมานิ ภิกฺขเว สุขานิ กตมานิ เทฺว
รูปารมฺมณญฺจ สุขํ อรูปารมฺมณญฺจ สุขํ อิมานิ โข ภิกฺขเว เทฺว
สุขานิ เอตทคฺคํ ภิกฺขเว อิเมสํ ทฺวินฺนํ สุขานํ ยทิทํ
อรูปารมฺมณํ สุขนฺติ ฯ
++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++
บทสรุป จะมาแจกแจงเพิ่มเติม
เนื่องด้วยข้อความแม่บทนี้ยาว
ไม่สามารถตัดตอนใดออกใด
จำเป็นต้องอธิบายทั้งหมด
เจริญธรรม
25 เมษายน 2565